เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาในรูปแบบต่างๆ ออกแบบแผนภาพเพื่อแก้โจทย์ปัญหาต่างๆโดยสามารถให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ได้ เกิดทักษะการมองภาพและเห็นรูปแบบในมิติต่างๆเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับตนเอง และนำเสนอให้ผู้เข้าใจได้

Week 4

เป้าหมายรายสัปดาห์ -นักเรียนมีความเข้าใจ และสามารถจำแนกชนิดของมุม เส้นตรงอีกทั้งสามารถวิเคราะห์รูปเรขาคณิตทั้ง 2 มิติ  3 มิติพร้อมอธิบายและให้เหตุผลนำและนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
.................

Week

Input

Process

Output

Outcome



4


30ม.ค.-
3ก.พ.60
โจทย์
 - รูปร่าง
 - รูปทรง
Key  Questions
นักเรียนคิดว่ารูปร่างแต่ละรูปประกอบด้วยอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
 - เครื่องมือวัดครึ่งวงกลม
 - รูปร่างต่างๆ 
แผ่นภาพชุดสัตว์
ชุดไม้โพแทรกเตอร์
บล็อกไม้
ใบงานการสร้างภาพเรขาคณิตสามมิติ
ครูให้โจทย์นักเรียนวาดเส้นตรงเส้นหนึ่งตั้งอยู่บนเส้นตรงอีกเส้นหนึ่ง มุมประชิดรวมกัน เท่ากับสองมุมฉาก นั้นจะกลายเป็นรูปอะไร (สามเหลี่ยมมุมฉาก)
 ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับรูปร่างเรขาคณิตที่มีโครงสร้างแน่นอนเป็น มิติมีความกว้างและความยาว


และรูปร่างอิสระป็นรูปร่างที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอนเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่สามารถระบุชื่อเรียกได้ชัดเจน เช่น รูปร่างของใบไม้ ก้อนเมฆ ถุงเท้า เป็นต้น




 ครูให้นักเรียนดูรูปดินสอที่ครูติดบนกระดาน และให้นักเรียนช่วยบอกว่ารูปดินสอนี้มีรูปร่างเรขาณิตอะไรบ้าง
ครูให้นักเรียนดูดินสอ(ของจริง) และให้นักเรียนช่วยบอกว่าดินสอที่อยู่ในมือคุณครูนี้เหมือนหรือแตกต่างจากภาพดินสอบนกระดานอย่างไร (รูปทรง)
นักเรียนสังเกตบล็อกไม้รูปทรงต่างๆ พร้อม
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างของรูปร่างและรูปทรงต่างๆ
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนสร้างนิทาน เรื่องจากรูปร่างเรขาคณิต
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะสร้างกล่องจากกระดาษ 1 แผ่นได้อย่างไร?”
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้างกล่องรูปทรงต่างๆ
 - นักเรียนออกแบบการสร้างกล่องและพีระมิด
นักเรียนทำใบงานการสร้างภาพเรขาคณิตสามมิติ


ภาระงาน
นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
นักเรียนร่วมทดลองทดลองยืนบนเสื่อ เพื่อหาปริมาณความหนาแน่น

 - นักเรียนนำเสนอข้อมูลช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่

นักเรียนแสดงความคิดเห็น

นักเรียนทำใบงาน


ชิ้นงาน
สมุดเล่มเล็ก
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม
ใบงาน / โจทย์การคิด


ความรู้
   มีความเข้าใจ และสามารถจำแนกชนิดของมุม เส้นตรงอีกทั้งสามารถวิเคราะห์รูปเรขาคณิตทั้ง 2 มิติ  3 มิติพร้อมอธิบายและให้เหตุผลนำและนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้



ทักษะ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
ทักษะการจัดการข้อมูลการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอ
ทักษะการแก้ปัญหา
ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น

คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
บันทึกหลังสอน


1 ความคิดเห็น:

  1. กิจกรรมต่อเนื่องจากโจทย์ครั้งก่อน ให้พี่ๆ นำพาความเข้าใจเกี่ยวกับการประมาณพื้นที่ ตามรูปแบบต่างๆ มาหาขนาดพื้นที่และความยาวรอบรูป และแต่ละคนได้แบ่งบทบาทหน้าที่เตรียมอุปกรณ์มาประกอบ สร้างแบบจำลองทำแบบบ้าน ตามโมเดลของแต่ละคนที่อยู่ในกลุ่ม

    STEP2- 'บทประยุกต์เรขาคณิต ป4' แบบจำลอง(model)บ้าน เพื่อเรียนรู้การวัด(หาพื้นที่โดยรอบบ้าน, มาตราส่วน, ออกแบบผังบ้าน) _ยังเหลืออีก3step ของการเรียนรู้..ในสัปดาห์ที่สี่
    พร้อมวัดขนาดพื้นที่จริง และออกแบบบ้านที่สมบูรณ์มาพร้อมนำเสนอต่อครูและเพื่อนๆ เพื่อตรวจเช็คความเข้าใจตามความเข้าใจของแต่ละกลุ่ม พร้อมแบบจำลอง

    ตอบลบ