เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์โจทย์ปัญหาในรูปแบบต่างๆ ออกแบบแผนภาพเพื่อแก้โจทย์ปัญหาต่างๆโดยสามารถให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ได้ เกิดทักษะการมองภาพและเห็นรูปแบบในมิติต่างๆเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับตนเอง และนำเสนอให้ผู้เข้าใจได้

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

Main


"คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ"
เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒน
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
Mind mapping (สาระการเรียนรู้)

ขอบข่ายความเชื่อมโยงสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 รายปี 2559
สาระการเรียนรู้
ระดับความเข้าใจตัวเลข

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ

สาระที่ 4
พีชคณิต

สาระที่ 6
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1
(Nominal Scale)
2
(Ordinal Scale)
3
(Interval Scale)
4
Ratio Scale)
การบวก
การลบ
การคูณ
การหาร
การเปรียบเทียบ
สาระที่ 2 การวัด
1.ความสัมพันธ์ของหน่วยการวัด
- ความยาว (เซนติเมตรกับมิลลิเมตร  เมตรกับเซนติเมตร  กิโลเมตรกับเมตร    วากับเมตร)


P


P


P


P


P


P


P


P


P








           P
1.ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การชั่ง (กรัมกับกิโลกรัม  กิโลกรัมกับเมตริกตัน  ขีดกับกรัม)


P


P


P


P


P


P


P


P


P
- การตวง (มิลลิลิตรกับลูกบาศก์เซนติเมตร  มิลลิลิตรกับลิตร  ลูกบาศก์เซนติเมตรกับลิตร)


P


P


P


P


P


P


P


P


P
- เวลา (วินาทีกับนาที   นาทีกับชั่วโมง  ชั่วโมงกับวัน  วันกับสัปดาห์  วันกับเดือน  สัปดาห์กับปี  เดือนกับปี  วันกับปี)


P


P


P


P


P


P


P


P


P

สาระการเรียนรู้
ระดับความเข้าใจตัวเลข

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ

สาระที่ 4
พีชคณิต

สาระที่ 6
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1
(Nominal Scale)
2
(Ordinal Scale)
3
(Interval Scale)
4
Ratio Scale)
การบวก
การลบ
การคูณ
การหาร
การเปรียบเทียบ
สาระที่ 2 การวัด
2. พื้นที่สี่เหลี่ยมมุมฉาก (ตารางหน่วยและเซนติเมตร)


P


P





P


P


P


P


P


P









    P
1.ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. การบอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา เขียนเวลาโดยใช้จุด และบอกระยะเวลา


P


P





P


P


P


P


P


P
4. การคาดคะเน
- ความยาว  (เมตรเซนติเมตร วา)
- น้ำหนัก (กิโลกรัม ขีด)
- ปริมาตรหรือความจุ (ลิตร)


P


P


P


P


P


P


P


P


P
สาระที่ 3 เรขาคณิต
1.อธิบายเพื่อแยกแยะความแตกต่างของมุมฉาก มุมแหลม มุมป้าน


P


P


P


P


P


P


P


P


P


สาระการเรียนรู้
ระดับความเข้าใจตัวเลข

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ

สาระที่ 4
พีชคณิต

สาระที่ 6
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1
(Nominal Scale)
2
(Ordinal Scale)
3
(Interval Scale)
4
Ratio Scale)
การบวก
การลบ
การคูณ
การหาร
การเปรียบเทียบ
สาระที่ 3  เรขาคณิต
2.อธิบายได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงคู่ใดขนานกัน พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน


P


P








P


P


P


P


P










    P
1.ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.อธิบายความสัมพันธ์ส่วนประกอบของรูปวงกลม  เช่นความสัมพันธ์ระหว่างรัศมีกับเส้นรอบวง)


P


P





P


P


P


P


P


P
4.อธิบายลักษณะของสิ่งของที่มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า


P


P





P


P


P


P


P


P
5.จำแนกรูปเรขาคณิตสองมิติได้ว่ารูปใดเป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก     จำนวนแกนสมมาตร    


P


P





P


P


P


P


P


P

สาระการเรียนรู้
ระดับความเข้าใจตัวเลข

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ

สาระที่ 4
พีชคณิต

สาระที่ 6
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1
(Nominal Scale)
2
(Ordinal Scale)
3
(Interval Scale)
4
Ratio Scale)
การบวก
การลบ
การคูณ
การหาร
การเปรียบเทียบ
สาระที่ 5 ความน่าจะเป็น
1. รวบรวมและจำแนกข้อมูล



P


P


P


P


P


P


P


P


P







           P
1.ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
3. ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
4. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.อ่านข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ  แผนภูมิแท่งและตาราง


P


P


P


P


P


P


P


P


P
3. เขียนแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่ง


P


P


P


P


P


P


P


P


P


ปฏิทินและวิเคราะห์มาตรฐานการจัดกิจกรรมวิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 Quarter 4 ปีการศึกษา 2559


Week

Input

Process

Output

Outcome



1
 โจทย์  ทบทวน
 - การหาพื้นที่ 2 มิติ
 (รูปสามเหลี่ยม,สี่เหลี่ยม)
คำถาม
-รูปสามเหลี่ยมกับรูปสี่เหลี่ยมเหมือนหรือต่างกันอย่างไร มีความสัมพันธ์กันหรือไม่เพราะอะไร?
นักเรียนมีวิธีการหาพื้นที่อย่างไร

เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
รูปสี่เหลี่ยม สามเหลี่ยมแบบต่างๆ
 - ใบงานการหาพื้นที่
ใบไม้ต่างๆ

-ครูและนักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับวิธีคิดการหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมในรูปแบบต่างๆ

แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม
ครูให้โจทย์โดยกำหนดรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมในรูปแบบต่างๆ และให้แต่ละกลุ่มช่วยกันหาพื้นที่
-นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมแสดงวิธีคิดและนำเสนอวิธีการคิดจากโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย
-นักเรียนทำใบงาน
-ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด รูปสามเหลี่ยมกับรูปสี่เหลี่ยมเหมือนหรือต่างกันอย่างไร มีความสัมพันธ์กันหรือไม่เพราะอะไร?
-ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมกับสี่เหลี่ยม โดยการลองสร้างรูปสามเหลี่ยมจากสี่เหลี่ยมขนาดต่างๆอีกครั้ง
-ครูให้โจทย์นักเรียนออกแบบหาพื้นที่ของใบไม้รูปร่างต่างๆตามความสนใจ



-นักเรียนแต่ละคนออกแบบวิธีการหาพื้นที่ของใบไม้ตามที่ตนเองเลือกคนละ 5 ชนิด จากนั้นนำมาจัดลำดับพื้นที่จากน้อยไปหามาก
นักเรียนแต่ละคนนำเสนอวิธีการคิดและออกแบบการหาพื้นที่ของใบไม้ตามที่ตนเองเลือก

ครูและนักเรียนร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรม
ภาระงาน
 - การแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากโจทย์ที่กำหนดให้
การตอบคำถาม
การทำใบงาน

ชิ้นงาน
สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ใบงาน
วิธีการออกแบบหาพื้นที่ของใบไม้รูปร่างต่างๆตามความสนใจ
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ และสามารถหาพื้นที่ ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมได้ เห็นความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม รวมทั้งสามารถออกแบบวิธีการหาพื้นที่ของสิ่งต่างๆได้
ทักษะ
-ทักษะการคิด
-ทักษะการสื่อสาร / การให้เหตุผล
-ทักษะการมองเห็นแบบรูป(pattern)
-ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
1.1 ป.4/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับและศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
1.1 ป.4/3บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับและศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
สาระที่ 4 พีชคณิต
4.1 .4/1  บอกจำนวนและความสัมพันธ์ใน   แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่ากัน
4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ ความน่าจะเป็น
5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ






















Week

Input

Process

Output

Outcome


2 - 3
โจทย์  :
 เรขาคณิตประยุกต์

คำถาม
 นักเรียนจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง?

เครื่องมือคิด
- Brainstorms
การระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับวิธีคิดจากโจทย์ที่ครูกำหนดให้
- Blackboards share
การแลกเปลี่ยนนำเสนอวิธีคิด
- Show and Share
การนำเสนอชิ้นงานและพูดสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างน่าสนใจ

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู

สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
กล่องลัง
-  ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด บ้านหนึ่งหลังประกอบด้วยอะไรบ้าง
-  ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับส่วนประกอบของบ้านหนึ่งหลัง
-  นักเรียนออกแบบบ้านคนละ 1 หลัง พร้อมเขียนรายละเอียด

- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด ถ้านักเรียนจะสร้างบ้านหนึ่งหลังนักเรียนจะเริ่มสร้างจากส่วนใดก่อน เพราะอะไร
-  ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนการสร้างบ้าน
- นักเรียนสร้างบ้านจำลองจากกล่องลัง
  - ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรว่าฐานของบ้านมีพื้นที่กี่ตารางหน่วย , มีวิธีการคิดอย่างไรถ้าเราจำเป็นต้องปูกระเบื้องที่มีขนาดความกว้าง 3x3 ซม. จะมีวิธีการคิดอย่างไร
-  ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเรื่องการหาพื้นที่ และการหาจำนวนกระเบื้องที่จะนำมาปูพื้น พร้อมแสดงวิธีการคิด

-  นักเรียนคำนวณจำนวนกระเบื้องปูพื้นของตนเอง

-ครูและนักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
ภาระงาน
 - การแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากโจทย์ที่กำหนดให้
การตอบคำถาม
- นักเรียนสร้างแบบจำลองหมู่บ้าน

ชิ้นงาน
สมุดบันทึกเล่มเล็ก
สร้างบ้านจำลองจากกล่องลัง
 - คำนวณจำนวนกระเบื้องปูพื้นของตนเอง
 - ออกแบบบ้างคนละ 1 หลัง พร้อมเขียนรายละเอียด
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจเกิดมโนภาพเกี่ยวกับมิติ รูปร่าง ตำแหน่ง ระยะทาง ทิศทาง เกิดความรู้สึกเชิงเรขาคณิตสามารถหาพื้นที่โดยการใช้การดำเนินการบวก ลบ คูณและหารได้
ทักษะ
-ทักษะการคิด
-ทักษะการสื่อสาร / การให้เหตุผล
-ทักษะการมองเห็นแบบรูป(pattern)
-ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น

คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิด
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
1.1 .4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
1.1 .4/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับและศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่งเชื่อมโยงความรู้ต่าง  ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
1.1 .4/3บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับและศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
สาระที่ 3  เรขาคณิต
 3.1 .4/1   บอกชนิดของมุม  ชื่อมุม   ส่วนประกอบของมุม  และเขียน สัญลักษณ์
 3.1 .4/2   บอกได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ใดขนานกัน  พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน
 3.1 .4/3  บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
 3.1 .4/4 บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
 3.1 .4/5 บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด      เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก     จำนวนแกนสมมาตร    
สาระที่ 4 พีชคณิต
4.1 .4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ ความน่าจะเป็น
5.1 .4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
6.1 .4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
6.1 .4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
6.1 .4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6.1 .4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง  ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น 






















Week

Input

Process

Output

Outcome
4 -5

โจทย์
 - รูปร่าง
 - รูปทรง
Key  Questions
นักเรียนคิดว่ารูปร่างแต่ละรูปประกอบด้วยอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
 - เครื่องมือวัดครึ่งวงกลม
 - รูปร่างต่างๆ 
แผ่นภาพชุดสัตว์
ชุดไม้โพแทรกเตอร์
บล็อกไม้
ใบงานการสร้างภาพเรขาคณิตสามมิติ
ครูให้โจทย์นักเรียนวาดเส้นตรงเส้นหนึ่งตั้งอยู่บนเส้นตรงอีกเส้นหนึ่ง มุมประชิดรวมกัน เท่ากับสองมุมฉาก นั้นจะกลายเป็นรูปอะไร (สามเหลี่ยมมุมฉาก)
 ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับรูปร่างเรขาคณิตที่มีโครงสร้างแน่นอนเป็น มิติมีความกว้างและความยาว


และรูปร่างอิสระป็นรูปร่างที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอนเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่สามารถระบุชื่อเรียกได้ชัดเจน เช่น รูปร่างของใบไม้ ก้อนเมฆ ถุงเท้า เป็นต้น




 ครูให้นักเรียนดูรูปดินสอที่ครูติดบนกระดาน และให้นักเรียนช่วยบอกว่ารูปดินสอนี้มีรูปร่างเรขาณิตอะไรบ้าง
ครูให้นักเรียนดูดินสอ(ของจริง) และให้นักเรียนช่วยบอกว่าดินสอที่อยู่ในมือคุณครูนี้เหมือนหรือแตกต่างจากภาพดินสอบนกระดานอย่างไร (รูปทรง)
นักเรียนสังเกตบล็อกไม้รูปทรงต่างๆ พร้อม
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างของรูปร่างและรูปทรงต่างๆ
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนสร้างนิทาน เรื่องจากรูปร่างเรขาคณิต
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะสร้างกล่องจากกระดาษ 1 แผ่นได้อย่างไร?”
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้างกล่องรูปทรงต่างๆ
 - นักเรียนออกแบบการสร้างกล่องและพีระมิด
นักเรียนทำใบงานการสร้างภาพเรขาคณิตสามมิติ


ภาระงาน
นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
นักเรียนร่วมทดลองทดลองยืนบนเสื่อ เพื่อหาปริมาณความหนาแน่น

 - นักเรียนนำเสนอข้อมูลช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่

นักเรียนแสดงความคิดเห็น

นักเรียนทำใบงาน


ชิ้นงาน
สมุดเล่มเล็ก
สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม
ใบงาน / โจทย์การคิด


ความรู้
   มีความเข้าใจ และสามารถจำแนกชนิดของมุม เส้นตรงอีกทั้งสามารถวิเคราะห์รูปเรขาคณิตทั้ง 2 มิติ  3 มิติพร้อมอธิบายและให้เหตุผลนำและนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้



ทักษะ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
ทักษะการจัดการข้อมูลการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอ
ทักษะการแก้ปัญหา
ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น

คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
สาระที่ 3  เรขาคณิต
 3.1 .4/1   บอกชนิดของมุม  ชื่อมุม   ส่วนประกอบของมุม  และเขียน สัญลักษณ์
 3.1 .4/2   บอกได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ใดขนานกัน  พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน
ค 3.1 ป.4/3  บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
ค 3.1 ป.4/4 บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ค 3.1 ป.4/5 บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด    เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก     จำนวนแกนสมมาตร    
สาระที่ 4 พีชคณิต
4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ ความน่าจะเป็น
5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ














...................................
Week
Input
Process
Output
Outcome












6-7
โจทย์
- การหาพื้นที่ 2 มิติ
 - การหาเส้นรอบรูป 2 มิติ (รูปสามเหลี่ยม, สี่เหลี่ยม)

คำถาม
รูปสามเหลี่ยมกับรูปสี่เหลี่ยมเหมือนหรือต่างกันอย่างไร มีความสัมพันธ์กันหรือไม่เพราะอะไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking

- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดรูปร่างเรขาคณิต
- ไม้บรรทัด(ขนาดต่างๆ)

- นักเรียนหาเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยมโดยการนับช่องตาราง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการหารเส้นรอบรูปสี่เหลี่ยม
- นักเรียนหาพี้นที่รูปสี่เหลี่ยมโดยการนับช่องตาราง
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยม
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าเราจะสามารถหาเส้นรอบรูป และหาพื้นที่โดยวิธีอื่นได้หรือไม่
- นักเรียนสังเกตรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด เหมือนหรือต่างกันอย่างไร, คิดว่าทั้งสองรูปมีความสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นความสัมพันธ์รูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
- นักเรียนหาเส้นรอบรูป และหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม

ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
 - นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนสร้างแบบจำลองหมู่บ้าน
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน

ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
ความรู้
   นักเรียนมีความเข้าใจเกิดมโนภาพเกี่ยวกับมิติ รูปร่าง ตำแหน่ง ระยะทาง ทิศทาง เกิดความรู้สึกเชิงเรขาคณิตสามารถหาพื้นที่โดยการใช้การดำเนินการบวก ลบ คูณและหารได้

ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น

คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน  2.1  เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและฟังก์ชันตัวชี้วัด ป.4/2 , ป.4/3
มาตรฐาน
  6.1 
มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, และ ป.4/6
................................
Week
Input
Process
Output
Outcome












8-9
โจทย์
เรขาคณิตประยุกต์
คำถาม
นักเรียนจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking

- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดรูปร่างเรขาคณิต
- ไม้บรรทัด(ขนาดต่างๆ)

- นักเรียนหาพื้นที่และเส้นรอบรูปของรูปร่างและรูปทรงที่กำหนดขึ้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นการหาพื้นที่และเส้นรอบรูป
- นักเรียนสร้างสรรค์แบบจำลองหมู่บ้านจากรูปทรงที่สร้างขึ้น พร้อมให้เหตุผล
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้างแบบจำลองหมู่บ้าน
- นักเรียนสังเกตสัดส่วนต่างๆ ที่ครูกำหนดให้
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับสัดส่วน
- นักเรียนหาพื้นที่โดยการเพิ่มสัดส่วนของรูปร่างและรูปทรงต่างๆ

ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาคำทายจากตัวเลข
 - นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน

ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- ใบงานหาเส้นรอบรูปโดยการเพิ่มสัดส่วน
- ใบงานหาพื้นที่โดยการเพิ่มสัดส่วน

- สรุปความเข้าใจในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
ความรู้
   นักเรียนมีความเข้าใจเกิดมโนภาพเกี่ยวกับมิติ รูปร่าง ตำแหน่ง ระยะทาง ทิศทาง เกิดความรู้สึกเชิงเรขาคณิตสามารถหาพื้นที่โดยการใช้การดำเนินการบวก ลบ คูณและหารได้

ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น

คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน 1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน   ตัวชี้วัด ป.4/1 , ป.4/2
มาตรฐาน 2.2
เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด   ตัวชี้วัด ป.4/3
มาตรฐาน 3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)  และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.4/3
มาตรฐาน 4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์  (mathematical  model)  อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.4/1 , ป.4/2
มาตรฐาน 5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล   ตัวชี้วัด ป.4/1
มาตรฐาน
  6.1 
มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, และ ป.4/6
.................................
.................................

Week
Input
Process
Output
Outcome












10
โจทย์
สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน) ระดับชั้น ป.4 Quarter 4/59

คำถาม
- นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ Quarter 4
เครื่องมือคิด
- Show and Share

- Wall thinking

- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศการเรียนรู้คณิต
ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด จากโจทย์ปริศนาคำทายจากตัวเลข
เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
ครูใช้คำถามกระตุ้นด้วยคำถาม
นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ Quarter 4
นักเรียนและครูร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมกันจัดนิทรรศการการ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และความเชื่อมโยงของวิชาคณิตศาสตร์กับวิชาอื่นๆ

นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน และร่วมจัดนิทรรศการถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน)
ระดับชั้น ป.4 Quarter 4/59

ภาระงาน

- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาคำทายจากตัวเลข
 - นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน

ชิ้นงาน

- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
ความรู้

   นักเรียนเข้าใจกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยต่างๆที่เรียนมา และสรุปองค์ความรู้ นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้

ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
 -  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

มาตรฐาน 1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน   : ตัวชี้วัด ป.4/1 , ป.4/2
มาตรฐาน 2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด   ตัวชี้วัด ป.4/3
มาตรฐาน 3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)  และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.4/3
มาตรฐาน 4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์  (mathematical  model)  อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัด ป.4/1 , ป.4/2

มาตรฐาน 5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล   ตัวชี้วัด ป.4/1 
มาตรฐาน  6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, และ ป.4/6
...........................